ชื่อโครงการ
แผนงาน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ผู้รับผิดชอบโครงการ
โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยโครงงาน
งานวิชาการ
โรงเรียนบ้านฝั่งแดง (พระเทพวรมุนีอุปถัมภ์)
นางสาวนิภา โพธิโคตร และนางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
สอดคล้องมาตรฐานภายในของสถานศึกษา
1. มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ประเด็นพิจารณาที่ 1.1.3 : มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
2. ยุทธศาสตร์ที่ 1 : คุณภาพของเด็กและคุณภาพของผู้เรียน
2.1 กลยุทธ์ขั้นพื้นฐานที่ 3 : ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
ลักษณะโครงการ
ระยะเวลาที่เริ่มดำเนินการ
โครงการต่อเนื่อง
1 กรกฎาคม 2563 – 30 เมษายน 2564
1. หลักการและเหตุผล
การจัดการเรียนรู้ที่ใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ยึด ผู้เรียนเป็นสำคัญวิธีการหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียนเกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและใช้ทักษะการคิดขั้นสูง (Thomas, 1998) และจากงานวิจัยพบว่า ศักยภาพในการรับรู้สิ่งใหม่ๆ ของผู้เรียนจะถูกยกระดับขึ้นเมื่อได้มี ส่วนร่วมในกิจกรรมการแก้ปัญหา และเมื่อผู้เรียนได้รับความช่วยเหลือและเข้าใจว่าความรู้กับทักษะเหล่านั้น สัมพันธ์กันด้วยเหตุใด เมื่อไหร่และอย่างไร (Bransford, Brown, & Conking, 2000, p. 23) การเรียนรู้ด้วย โครงงานจะถูกขับเคลื่อนโดยมีคำถามกำหนดกรอบการเรียนรู้ที่เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้ กับทักษะการคิดขั้นสูง เข้าสู่สถานการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง การจัดการเรียนรู้ที่ใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงกับบริบทจริง ทำให้ผู้เรียนทั้งหมดเกิดการเรียนรู้ สามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เข้าสู่กระบวนการสืบสอบ (process of inquiry) ซึ่งเป็น การใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ช่วยให้ผู้เรียนได้ผลิตงานที่เป็นรูปธรรมออกมา ทำให้ผู้เรียนสามารถช่วยดึง ศักยภาพต่าง ๆ ที่มีอยู่ในตัวของผู้เรียนออกมาใช้ประโยชน์ ตามความถนัดและความสามารถของตนเอง ดั้งนั้น การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) เป็นรูปแบบวิธีสอนที่จะนำผู้เรียนเข้าสู่ การแก้ปัญหาที่ท้าทายและสร้างชิ้นงานได้สำเร็จด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
2. วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเป็นลำดับขั้นตอน
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีการสร้างนวัตกรรมจากการทำโครงงาน
3. เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
1. ผู้เรียน ร้อยละ 62 ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเป็นลำดับขั้นตอน
2. ผู้เรียน ร้อยละ 62 มีการสร้างนวัตกรรมจากการทำโครงงาน
เชิงคุณภาพ
1. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการสร้างนวัตกรรม
4. วิธีดำเนินการ
กิจกรรม
1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหาร
ผู้รับผิดชอบ
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ระยะเวลา
ก.ค. 2563
2. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรรมการดำเนินงานตามโครงการ
นางสาวจุฑาภรณ์ หาญพรหม
ก.ค. 2563
3. การดำเนินกิจกรรม
กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน บูรณาการในทุกกลุ่มสาระ
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
4. ครูทำเกณฑ์การประเมินพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรม
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
5 ประเมินพฤติกรรมผู้เรียนระหว่างดำเนินกิจกรรม
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
6. จัดทำแบบประเมินโครงการ
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
7. จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจของผู้ที่เกี่ยวข้อง
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
8. สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการและรายงานผู้บริหารสถานศึกษา
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
มี.ค. - เม.ย. 2564
5.งบประมาณ
4,500 บาท
6. รายละเอียดการดำเนินกิจกรรม
ขั้น
P
ที่
1
กิจกรรม
ศึกษา รวบรวม ข้อมูล สภาพปัจจุบัน ปัญหา นำเสนอข้อมูล
ระยะเวลา
ปีการศึกษา 2563
ผู้รับผิดชอบ
คณะครู
P
2
ประชุมวางแผนการดำเนินงาน
ก.ค. 2563
คณะครู
D
3
ดำเนินงานพัฒนาผู้เรียนชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ปีการศึกษา 2563
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
C
4
นิเทศ ติดตามประเมินผล สรุปและรายงาน
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
นายชาญศิลป์ ส่งเสริม
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ครูประจำชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
A
5
นำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนา
ก.ค. 2563 - เม.ย. 2564
นางสาวนิภา โพธิโคตร
นางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
ครูประจำชั้นประถมศึกษาและชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
7. การติดตามประเมินผล
ตัวชี้วัดความสำเร็จ
1. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเป็นลำดับขั้นตอน
วิธีการประเมิน
สังเกตพฤติกรรม
การตรวจเอกสาร หลักฐานร่องรอยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์
เครื่องมือ
แบบสังเกตพฤติกรรม
การสัมภาษณ์
การสอบถาม
2. ผู้เรียนมีการสร้างนวัตกรรมจากการทำโครงงาน
สังเกตพฤติกรรม
การตรวจเอกสาร หลักฐานร่องรอยหรือข้อมูลเชิงประจักษ์
แบบสังเกตพฤติกรรม
การสัมภาษณ์
การสอบถาม
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และเป็นลำดับขั้นตอน
2. ผู้เรียนมีการสร้างนวัตกรรมจากการทำโครงงาน
9. ผู้เสนอโครงการ
นางสาวนิภา โพธิโคตร และนางสาวพิมพ์สุภัค บุญเดช
10. ผู้เห็นชอบโครงการ
นายประเสริฐ จุลทอง
11. ผู้อนุมัติโครงการ
นายชาญศิลป์ ส่งเสริม